หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบภาษาไทย ม.3 จุดประสงค์ที่ 3

แบบทดสอบเรื่อง การอ่านวินิจสาร จำนวน 10 ข้อ
วิชาภาษาไทย(รหัส ท23101) ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง การอ่านวินิจสาร จำนวน 10 ข้อ
โดย ด.ญ. เพ็ญนภา สิงห์ยอง โรงเรียนผาแดงวิทยา
คำสั่ง เลือกคลิกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

ข้อที่ 1)
ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการอ่านตีความ
   ศึกษาน้ำเสียงของผู้เขียน
   ทำความเข้าใจความหมาย
   ศึกษาหลักการและกลวีเขียน
   ศึกษาจุดประสงค์ของการเขียน

ข้อที่ 2)
ข้อใดจัดอยู่ในประเภทร้อยกรอง
   สารคดี
   นวนิยาย
   บทความ
   กวีนิพนธ์

ข้อที่ 3)
ข้อใดเป็นวิธีการอ่านตีความร้อยกรอง
   ตีความจากสระสำคัญของเรื่อง
   ตีความถ้อยคำโดยพิจารณาจากบทบาท
   ตีความข้อความโดยเปรียบเทียบสำนวนโวหารที่ใช้
   ตีความโดยทำความเข้าใจเรื่องภาษาภาพพจน์ที่ใช้ในงานเขียน

ข้อที่ 4)
การวิเคราะห์สารหมายความว่าอย่างไร
   การแยกแยะส่วนประกอบต่างๆ
   การอธิบายลักษณะของงานเขียน
   การสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการเขียน
   การแสดงความคิดเห็นทั้งบวกและลบ

ข้อที่ 5)
การวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร
   การแสดงความคิดเห็น
   การแยกแยะ
   การอธิบาย
   การสรุป

ข้อที่ 6)
ข้อใดเรียงลำดับถูกต้อง
   เล่าเรื่อง วิเคราะห์เรื่อง กล่าวถึงบทบาท บอกจุดมุ่งหมาย ประเมินค่า
   เล่าเรื่อง บอกจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์เรื่อง กล่าวถึงบทบาท ประเมินค่า
   เล่าเรื่อง กล่าวถึงบทบาท บอกจุดมุ่งหมาย วิเคราะห์เรื่อง ประเมินค่า
   เล่าเรื่อง วิเคราะห์เรื่อง กล่าวถึงบทบาท บอกจุดมุ่งหมาย ประเมินค่า

ข้อที่ 7)
บริบทที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านคือข้อใด
   ความหมายคำศัพท์
   ความรู้สึกต่อเรื่อง
   ประวัติการแต่ง
   ข้อคิดที่แฝงอยู่

ข้อที่ 8)
ข้อใดเป็นคุณค่าด้านวรรณศิลป์
   ความงามทางภาษา
   ความเป็นไปได้
   ความถูกต้อง
   ความคิด

ข้อที่ 9)
ข้อใดที่ทำให้การอ่านวินิจสารมีความลึกซึ้งแตกต่างจากการอ่านจับใจความสำคัญ
   การสรุปเนื้อหา
   การบอกประเภท
   การประเมินคุณค่า
   การบอกองค์ประกอบ

ข้อที่ 10)
ข้อใดคือขั้นตอนก่อนการวิเคราะห์ วิจารณ์
   ศึกษาบริบท
   อ่านเรื่องคร่าวๆ
   อ่านเรื่องละเอียด
   ค้นสิ่งที่เกี่ยว


ทดสอบภาษาไทย ม.3 จุดประสงค์ที่ 1

แบบทดสอบเรื่อง .การอ่านออกเสียงจำนวน 10 ข้อ
วิชาภาษาไทย(รหัส ท23101) ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง .การอ่านออกเสียงจำนวน 10 ข้อ
โดย ด.ญ.อรัญญา โพธิ์วัง โรงเรียนผาแดงวิทยา
คำสั่ง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

ข้อที่ 1)
ข้อใดไม่ใช้จุดประส่งการอ่านออกเสียง
   ความบันเทิง
   แถลงนโยบาย
   ถ่ายทอดข่าวสาร
   เพื่อข้อความคิดเห็น

ข้อที่ 2)
ข้อใดคือการอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง
   กำหนดท่าทาง
   ทดลองออกเสียง
   ทำความเข้าใจเรื่อง
   ศึกษาเจตนของผู้แต่ง

ข้อที่ 3)
เครื่องหมาย / หมายความว่าอย่างไร
   หยุดอ่าน
   หยุดหายใจ
   เว้นวรรคเล็กน้อย
   ให้สังเกตข้อความ

ข้อที่ 4)
ทอดหางเสียง ต้องใช้เครื่องหมายใด
   //
   ……….
   ---------
   *******

ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่ใช้ลักษณะของร้อยแก้ว
   บังคับสัมผัส
   ใช้ในชีวิตประจำวัน
   ไพเราะ
   ใช้คำเหมาะสม

ข้อที่ 6)
สิ่งใดสำคัญที่สุดในการอ่านออกเสียง
   มีสมาธิ
   อ่านให้เป็นเสียงพูด
   อ่านให้ดัง
   อ่านให้ถูกอักขรวิธี

ข้อที่ 7)
การใส่อารมณ์ในการอ่านมีผลดีอย่างไร
   ผู้ฟังชื่นชม
   ทำให้น่าสนใจ
   ทำให้ชวนฟังยิ่งขึ้น
   ทำให้ผู้อ่านมีชีวิตชีวา

ข้อที่ 8)
ข้อใดไม่ใช้แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยกรอง
   รู้จักผู้แต่ง
   รู้จักรวบรวมคำ
   รู้จักทำนอง
   รู้จักใส่อารมณ์

ข้อที่ 9)
ข้อใดแบ่งจังหวะไม่ถูกต้อง
   นางเงือกน้ำ/บอกสำคัญว่า/นั้นแล้ว//คือเกาะ/แก้วพิสดาร/เป็นชานเขา
   แลลิบลิบ/หลังคา/ศาลาราย//มีเสาร์หงส์/ธงปลาย/ปลิวระยับ
   พี่มนุษย์/สุดสวาท/เป็นชาติยักษ์//จงคิดหัก/ความสวาท/ให้ขาดสูญ
   อยู่ดีดี/หนีเมีย/มาเสียได้//เสียน้ำใจ/น้องรัก/เป็นหนักหนา

ข้อที่ 10)
ข้อใดแบ่งวรรคตอนได้ถูกต้อง
   มีคน/จำนวนไม่น้อย/เชื่อว่าความตายเป็นสิ่งที่จัดการได้//จัดการในทีนี้หมายถึง/
   เราเชื่อว่า/ทุกอย่างจัดการได้/เพราะเรามีเทคโนโลยี/เรามีเงิน/เรามีความรู้/เราจึงมั่นใจว่า/เราสามารถจัดการ/สิ่งต่างๆได้
   เราสามารถจัดการธรรมชาติ/เราสามารถจัดการสังคม/และเราเชื่อว่า/เราสารถจัดร่างกายของเราได้
   โฆษณาทุกวันนี้/บอกเราว่าทุกอย่างจัดการได้//เราจึงเชื่อจริงๆว่า/ไม่มีอะไรในโลกนี้ที่จัดการไมได้/รวมทั้งความตาย


ทดสอบภาษาไทย ม 3 จุดประสงค์ ที่ 2

แบบทดสอบเรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ... จำนวน 10 ข้อ
วิชาภาษาไทย (รหัส ท23101) ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ... จำนวน 10 ข้อ
โดย ด.ช. สุธิวัฒน์ สหุนันต์ โรงเรียนผาแดงวิทยา...
คำสั่ง เลือก หรือ เติมคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

ข้อที่ 1)
ข้อใดสำคัญที่สุดในการเขียนกรอบความคิด
   การอ่านจับใจความสำคัญ
   การลากเส้นโยงความคิด
   การกำหนดรูปแบบในการนำเสนอ
   การใช้ภาพสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้อง

ข้อที่ 2)
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับใจความสำคัญ
   ครอบคลุมข้อความอื่นๆ
   ทำให้เกิดเรื่อง
   เด่นเฉพาะตัว
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 3)
ใจความสำคัญมีลักษณะอย่างไร
   เป็นคำ
   เป็นวลี
   เป็นอนุเฉท
   เป็นประโยค

ข้อที่ 4)
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับใจความสำคัญ
   เข้าใจประเภท
   ตั้งจุดมุ่งหมาย
   ใช้พจนานุกรม
   สำรวจส่วนประกอบ

ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการอ่านจับใจความสำคัญ
   อ่านผ่านๆ
   อ่านให้ละเอียด
   อ่านซ้ำ
   คัดลอก

ข้อที่ 6)
ข้อใดไม่ใช่การพิจารณาความหมาย
   บริบท
   สำนวน
   น้ำเสียง
   การเปลี่ยนแปลง

ข้อที่ 7)
คำในข้อใดมีความหมายอ้อม
   น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา
   อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้ร้าย
   โบราณว่าถ้าเหลือกำลังลาก ให้บอกปากบอกแขกช่วยแบกหาม
   ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้ำใจคน

ข้อที่ 8)
คำว่า ฆ้อง ในข้อใดมีความหมายอ้อม
   ถึงยามค่ำย่ำฆ้องจะร้องให้
   ในสมัยโบราณใช้ฆ้องตีบอกเวลา
   วาทีหนีจากบ้านมีฆ้องกระแตไปด้วย
   นายมีชอบทำตัวเป็นพวกฆ้องปากแตก

ข้อที่ 9)
ข้อใดสำคัญที่สุดในการเขียนกรอบความคิด
   การอ่านจับใจความสำคัญ
   การลากเส้นโยงความคิด
   การกำหนดรูปแบบในการนำเสนอ
   การใช้ภาพสัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้อง

ข้อที่ 10)
ข้อใดไม่ใช่วิธีการศึกษาข้อมูลเพื่อเขียนกรอบความคิด
   วิเคราะห์เนื้อหาและแตกประเด็น
   ศึกษาเรื่องที่ต้องการเขียนกรอบแนวคิด
   สังเคราะห์เรื่องเข้าเป็นประเด็นเดียวกัน
   เรียบเรียงและจัดหมวดหมู่ความคิดตัดประเด็นที่ไม่จำเป็นออก